top of page

Q&A คำถามยอดฮิต

เจ็บป่วยขั้นไหนถึงต้องผ่าตัด

คำถามนี้ผมขอแบ่งโรคออกเป็น 3 กลุ่ม 

    • กลุ่มแรก โรคทั่วไป เราจะพยายามรักษาโดยการไม่ผ่าตัดก่อน อันได้แก่ การปรับชีวิตประจำวัน การใช้ยา การบริหาร การทำกายภาพ การใช้อุปกรณ์เสริม     จนไปถึงการฉีดยาเฉพาะที่ หากไม่ได้ผล เราถึงค่อยจำเป็นต้องผ่าตัดครับ

    • กลุ่มที่สอง กระดูกหักและข้อเคลื่อน หากกระดูกหักไม่เคลื่อน หรือเคลื่อนที่น้อย ก็อาจไม่จำเป็นต้องผ่าตัด แต่หากกระดูกหักเคลื่อนที่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อต่อหลุด การผ่าตัดจะช่วยให้กลับมาใช้งานใกล้เคียงเดิมได้ดีกว่าครับ

    • กลุ่มที่สาม โรคติดเชื้อ กลุ่มนี้ถ้ามาในระยะแรก อาจให้ยารักษาได้ แต่ถ้าเป็นมานาน หรือใช้ยารักษาแล้วไม้ได้ผล การผ่าตัดจะช่วยให้ลดปริมาณเชื้อโรค สามารถส่งเพาะเชื้อเพื่อระบุโรคได้ครับ

ก่อนผ่าตัดต้องเตรียมตัวอย่างไร

ถ้าต้องผ่าตัดจะเสียค่าใช้จ่ายประมาณเท่าไหร่ ทั้งงโรงพยาบาลรัฐและเอกชน

This is your Client description. Utilize this space to give background on the client, summarize the work you provided for them or explain the nature of your partnership. Use the button to lead readers to specific projects or other relevant pages in your site.

เดินทางไปพบแพทย์ที่วชิรพยาบาลอย่างไร ร่วมถึง รพ.อื่นๆ

This is your Client description. Utilize this space to give background on the client, summarize the work you provided for them or explain the nature of your partnership. Use the button to lead readers to specific projects or other relevant pages in your site.

Learn More

เดินทางไปพบแพทย์ที่วชิรพยาบาลอย่างไร ร่วมถึง รพ.อื่นๆ

This is your Client description. Utilize this space to give background on the client, summarize the work you provided for them or explain the nature of your partnership. Use the button to lead readers to specific projects or other relevant pages in your site.

Q&A คำถามยอดฮิต

เจ็บป่วยขั้นไหนถึงต้องผ่าตัด

คำถามนี้ผมขอแบ่งโรคออกเป็น 3 กลุ่ม 

    • กลุ่มแรก โรคทั่วไป เราจะพยายามรักษาโดยการไม่ผ่าตัดก่อน อันได้แก่ การปรับชีวิตประจำวัน การใช้ยา การบริหาร การทำกายภาพ การใช้อุปกรณ์เสริม     จนไปถึงการฉีดยาเฉพาะที่ หากไม่ได้ผล เราถึงค่อยจำเป็นต้องผ่าตัดครับ

    • กลุ่มที่สอง กระดูกหักและข้อเคลื่อน หากกระดูกหักไม่เคลื่อน หรือเคลื่อนที่น้อย ก็อาจไม่จำเป็นต้องผ่าตัด แต่หากกระดูกหักเคลื่อนที่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อต่อหลุด การผ่าตัดจะช่วยให้กลับมาใช้งานใกล้เคียงเดิมได้ดีกว่าครับ

    • กลุ่มที่สาม โรคติดเชื้อ กลุ่มนี้ถ้ามาในระยะแรก อาจให้ยารักษาได้ แต่ถ้าเป็นมานาน หรือใช้ยารักษาแล้วไม้ได้ผล การผ่าตัดจะช่วยให้ลดปริมาณเชื้อโรค สามารถส่งเพาะเชื้อเพื่อระบุโรคได้ครับ

      

ผ่าตัดหรือไม่ผ่าตัดดีกว่ากัน

      ก่อนจะตัดสินใจควรจะปรึกษาแพทย์ถึงข้อดี ข้อเสียและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงการเตรียมตัวก่อนผ่าตัด ช่วงที่อยู่โรงพยาบาลและการดูแลหลังผ่าตัด เพราะคนไข้อาจมีความลำบากในการดูแลหลังผ่าตัด การขาดงาน รวมถึงรายได้ ส่วนการผ่าตัดนั้นในบางกรณีก็ช่วยแค่บรรเทาปวด อาจไม่ได้ทำให้หายปวดหมดในทุกคน แต่อย่างไรก็ตาม อยากให้เน้นผลระยะยาวเป็นสำคัญ

ก่อนผ่าตัดต้องเตรียมตัวอย่างไร

หากการผ่าตัดไม่ได้ทำเพียงแค่ฉีดยาชาเฉพาะที่ คนไข้จำเป็นต้องได้รับการตรวจความพร้อมก่อนผ่าตัดแตกต่างกันตามอายุ โดยทั่วไป ได้แก่ การเจาะเลือด เอ็กซเรย์ปอด การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รวมถึงการตรวจภายถ่ายรังสี (X-ray) บริเวณที่จะทำการผ่าตัด ซึ่งอาจมีการตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น การตรวจด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ Computerized Tomography (CT Scan) การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Magnetic Resonance Imaging (MRI)

หลังผ่าตัดต้องปฎิบัติตัวอย่างไร

การดูแลหลังผ่าตัด ได้แก่ การรักษาความสะอาดที่แผล ไม่ให้แผลเปียกน้ำ แพทย์อาจพิจารณาใส่เฝือกดามบริเวณที่ผ่าตัดด้วยในบางกรณี แพทย์จะระบุเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำในการรักษา และการดูแลแต่ละช่วงเวลา เช่น สามารถเดินลงน้ำหนักได้หรือไม่ มากน้อยแค่ไหน ในช่วงเวลาใด การผ่าตัดเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการรักษาอีกหนึ่งวิธี อยากให้ผู้ป่วยพึงเข้าใจว่าช่วงเวลานี้อาจมีความสำคัญเทียบเท่ากับช่วงเวลาผ่าตัดได้เลย

ถ้าต้องผ่าตัดจะเสียค่าใช้จ่ายประมาณเท่าไหร่

ค่าใช้จ่ายจะได้รับการประเมินคร่าวๆ จากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง แน่นอนว่าขึ้นกับความยากง่ายของการผ่าตัด ระยะเวลานอนโรงพยาบาล หากผู้ป่วยมีประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุ ก็จะมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันมาช่วยประสานงาน เพื่อให้ทราบว่าผู้ป่วยมีส่วนเกินนอกเหนือจากวงเงินประกันหรือไม่

ต้องทำกายภาพนานแค่ไหนถึงจะหาย

แต่ละโรคมีความแตกต่างกันในวิธีและระยะเวลาของการทำกายภาพ

ถ้ากินยาแก้ปวดมากๆจะส่งผลต่อระบบไตมั้ย

หากท่านอายุน้อยไม่ได้มีโรคประจำตัวใดๆ พิจารณาใช้รักษาตามอาการได้ในช่วงเวลาสั้นๆ แต่หากท่านเป็นผู้สูงอายุหรือมีปัญหาเรื่องไตอยู่แล้ว การทานยาแก้ปวดลดอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์อาจส่งผลต่อไตของท่านได้ อาจพิจารณาหลีกเลี่ยงไปใช้ยากลุ่มอื่น การใช้ยาทาน การฉีดยาเฉพาะที่ หรือการทำกายภาพ

ถ้าอายุมากกว่า 60 ปี ควรผ่าตัดได้มั้ยคะ

อายุมาก อาจจะไม่ได้แปลว่าผ่าตัดไม่ได้ครับ ยังสามารถผ่าตัดได้ ขอเพียงแค่ต้องมีการเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด ในทางกลับกัน ถ้าโรคนั้นทำให้ท่านปวด รบกวนการดำเนินชีวิตประจำของผู้ป่วย การท่องเที่ยว การเล่นกีฬา รวมถึงการช่วยเหลือดูแลตนเอง หากการผ่าตัดสามารถทำให้ท่านกลับไปใช้ชีวิตดีขึ้นได้ ก็น่าสนใจไหมครับ

สามารถมาพบคุณหมอได้อย่างไรคะ

สามารถติดต่อทำการนัดหมายได้ที่เบอร์ 081-359-3199 หรือโทร 1270 กด 2 ต่อ 12360-1 ทุกวันตั้งแต่ 7.30-19.30น.

bottom of page